ReadyPlanet.com
dot dot
CallcenterRealtyOne
ต้องการขายบ้าน,ฝากขายบ้าน
เกี่ยวกับสมาคมนายหน้าอสังหาฯ
Top Listing
dot

หมวดสินค้า
ประเภททรัพย์สิน
ทำเลต่างๆ

  [Help]
dot
bulletบ้านเดี่ยว
bulletบ้านแฝด
bulletทาว์นเฮาส์
bulletอาคารพาณิชย์
bulletอพาร์ทเม้นท์-หอพัก-ห้องเช่า
bulletคอนโดมีเนี่ยม/ห้องชุด
bulletอาคารสำนักงาน
bulletโรงแรม - รัสอร์ท
bulletโรงงาน-โกดัง
bulletที่ดินเปล่า
bulletอื่น ๆ
dot
แผนที่โซน
dot
dot
Zone1
dot
bullet สีลม, สาทร, พระราม 2-3-4, เจริญกรุง, เพชรบุรี, ยานนาวา , เยาวราช, พระนคร, บางบอน, เพรชเกษม, บางแค, คลองสาน, ธนบุรี, สุขสวัสดิ์, ดาวคนอง, ประชาอุทิศ, บางคอแหลม, ดุสิต, บางรัก, ปทุมวัน, ป้อมปราบฯ, สัมพันธวงศ์, พญาไท, บางกอกใหญ่-น้อย, บางขุนเทียน, หนองแขม
dot
Zone2
dot
bulletศรีนครินทร์, อ่อนนุช,สุขุมวิทม, พัฒนาการ, สวนหลวง, ประเวศ, เฉลิมพระเกียรติ, สุวรรณภูมิ, อุดมสุข, ลาซาล, แบริ่ง, พระโขนง, บางนา, เทพารักษ์, สมุทรปราการ รัชดา , ลาดพร้าว , รามคำแหง , บางกะปิ , ห้วยขวาง , ดินแดง , บึงกุ่ม , บางซื่อ , จตุจักร , วังทองหลาง
dot
Zone3
dot
bulletบางเขน, หลักสี่, ดอนเมือง, แจ้งวัฒนะ, วิภาวดี, พหลโยธิน, รังสิต, สะพานใหม่, วัชรพล, รามอินทรา, ลำลูกกา, นวมินทร์, เสรีไทย, มีนบุรี, สุวินทวงศ์ , ปทุมธานี, ร่มเกล้า, ลาดกระบัง, ประชาชื่น, เตาปูน, หทัยราษฎร์, พระราม 9, เกษตร-นวมินทร์, หนองจอก, สายไหม, คันนา
dot
Zone4
dot
bulletบรมราชชนนี,พระราม 5-7, พุทธมณฑล, กาญจนาภิเษก, แคราย, นนทบุรี, งามวงศ์วาน, ติวานนท์, ปากเกร็ด, รัตนาธิเบศร์, บางใหญ่, บางบัวทอง, บางกรวย, ราชพฤกษ์, นครอินทร์, ปิ่นเกล้า , ตลิ่งชัน , บางพลัด
ต่างจังหวัด
ทีมนักขายมืออาชีพ
"ความรู้เกี่ยวกับที่ดิน"
แฟรนไชส์
dot

dot
bullet6 วิธีเป็นมหาเศรษฐีที่ดิน
bullet6 ข้อ ควรรู้ ก่อนซื้อบ้าน
bulletตรวจสอบสัญญาให้ดี ก่อนซื้อขายอสังหาฯ
bulletปล่อยเช่าคอนโดฯในกทม.ได้ผลตอบแทนดีจริงหรือ?
bullet9 เคล็ดลับ นายหน้าอสังหาฯ รวยทางลัดอย่างไร?
bullet3 เรื่องควรรู้ก่อนโอนกรรมสิทธิ์บ้าน
bullet รู้ก่อนลงทุนคอนโด รู้ผลตอบแทนจากการปล่อยเช่า เมื่อเปรียบเทียบกับเงินลงทุนสูงที่สุด (Yield%)
bulletกฎหมายควบคุมอาคาร เรื่องควรรู้เกี่ยวกับ “ระยะร่น”
bulletก่อนจะลงทุนอสังหาฯ ต้องพิจารณาให้ดีๆก่อนนะครับ
bulletตอบตัวเองให้ได้ก่อนลงทุนที่ดิน .. คุณมีความรู้และเข้าใจในการลงทุนอสังหาฯ โดยเฉพาะ “ที่ดิน” ดีแค่ไหน?
bullet4 รูปแบบธุรกิจปล่อยเช่า
bulletเกี่ยวกับบ้านมือสอง
bullet 12 เคล็ดวิธี “เปิดบ้านขายอย่างเหนือชั้น
bulletเรื่องน่ารู้ของคนซื้อบ้าน
bulletไขปัญหาเรื่องกู้บ้านกับ ธอส.
bulletนายหน้าไฮโซ เทรนด์ร้อน ติดชาร์ตกระแสโลก
bullet“ฟาร์มมิ่ง (Farming)” เคล็ดวิธีควานหาบ้านดีเพื่อการลงทุน
bullet8 ข้อดีของการเลือกซื้อบ้านมือสอง
bulletตรวจบ้านมือสองอย่างไร ไม่ให้มานั่งเสียใจภายหลัง
bulletบ้านใหม่ VS บ้านมือสอง
bulletบ้านแบบไหนอยู่แล้วรวย
bulletกำจัด 10 จุดอ่อนแก้ปัญหากู้ (ซื้อบ้าน) ไม่ผ่าน
bullet7 ขั้นตอน ขายบ้าน ให้ได้เร็ว
bulletผ่อนบ้านไม่ไหว ทำอย่างไรดี
bulletการเลือกซื้อ บ้านมือสอง
bulletบ้านมือสองกับรอยแตกร้าว
bulletตั้งราคาขายบ้านให้ผู้ซื้อสนใจ
bulletเตรียมความพร้อมก่อนขายบ้าน
bullet9 ประกาศขายบ้านมือสอง
bullet5 ข้อดีของบ้านมือสอง
bulletซื้อบ้านมือสองผ่านนายหน้า
bulletทำบ้านเก่าให้เป็นบ้านใหม่
bullet10 เทคนิคดูแลบ้านหน้าฝน
bulletนายหน้าทำสัญญาฝากขายเอาเปรียบจริงหรือไม่ ?
bullet6 เคล็ดลับทำบ้านให้ขายได้ราคา
bullet6 สิ่งผิดๆ ส่งผลให้บ้านพัง
bullet วิธีเลือกซื้อบ้านมือสอง
bulletอยากมีบ้าน แต่ไม่เคยกู้ เริ่มต้นที่ไหนดี
bulletการซื้อบ้านมือสอง
bulletวิธีเลือกซื้อบ้านมือสองเรื่องใกล้ตัวที่เราควรรู้
bulletไขปัญหาเรื่องกู้บ้านกับ ธอส.
bullet“บ้านมือสอง” ของดีราคาถูกที่ไม่ควรมองข้าม
bulletเคล็ด (ไม่) ลับกับการเลือกซื้อบ้านมือสองเพื่อการลงทุน
bullet"กำจัด 10 จุดอ่อน แก้ปัญหากู้ (ซื้อบ้าน) ไม่ผ่าน "
bulletภาสวีร์ ลพอุทัย ชวนสร้างโอกาสด้วยธุรกิจ อสังหาริมทรัพย์กับ เรียลตี้ วัน
bullet ตรวจบ้านมือสองอย่างไร ไม่ให้มานั่งเสียใจภายหลัง
bulletเลือกทำเลซื้อบ้าน - คอนโด ฯ อย่างไรให้รวย
bullet" จะกู้เพื่อซื้อบ้าน แล้วตัวเองต้องเตรียมเงินเก็บไว้ด้วยหรือไม่ "
bullet 4 คุณสมบัติสำคัญ ขอกู้แบงก์ไหนก็ผ่าน!
bulletคลายร้อนให้บ้าน
bullet สัญญาจะซื้อจะขายที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง
bulletสัญญาซื้อขายรถยนต์
bulletสัญญาจะซื้อจะขาย
bulletสัญญาจะซื้อจะขายที่ดิน
bulletสัญญาจะซื้อจะขายที่ดิน (เหมายกแปลง)
bulletสัญญาซื้อขายและวางเงินมัดจำแบบทั่วไป
bulletสัญญาซื้อขายทรัพย์สิน
bulletบ้านดีด้วยหน้าต่าง !!
bulletคุณ ภาสวีร์ ลพอุทัย ก่อตั้ง เรียลตี้วันเอสเตท(ประเทศไทย) จำกัด
bulletชำระเงินงวดอย่างไร เพื่อไม่ให้เกิดหนี้ค้างชำระ
bulletขายบ้านมือสองให้ได้ราคาสูง ต้องมีเทคนิค !
bulletแหล่งเลือกซื้อบ้านมือสอง
bulletข้อดีของการฝากขายบ้านกับนายหน้า
bulletภาษีขายบ้านมีอะไรบ้าง?
bullet“แก่น” ในการลงทุน “อสังหาฯ ราคาประหยัด”
bullet5 อสังหาริมทรัพย์น่าสนใจ โดดเด่น AEC
bullet การผังเมือง หมายความว่า การวาง
bulletสร้าง “ระบบ” เพื่อสร้าง “แบรนด์” ในการลงทุน “อสังหาฯ ไม่นาน”
bullet6 ขั้นตอนเก็งกำไรอสังหาฯ หนทางรวยไวแบบไม่เสี่ยง
bulletสัญญาฝากขายแบบปิด (EXCLUSIVE) ให้ประโยชน์ผู้ขายอย่างไร?
bulletข้อดีของการฝากขายบ้านกับนายหน้า
bulletพิธีกรรมไหว้บ้านมือสอง
bullet4 ขั้นตอนมืออาีพ
bulletบ้านมือสองของดีที่ไม่ค่อยมีใครรู้
bulletกู้ร่วมชีวิตคู่กับการกู้ซื้อบ้าน
bulletกูรู 3 ธนาคาร “กู้ซื้อบ้านอย่างไรให้ผ่าน”
bulletเช็คความพร้อมก่อนยื่นกู้ซื้อบ้าน
bulletขายฝากเปลี่ยนชีวิต
bulletเคล็ดไม่ลับกับที่ดินเปล่าเพื่อลงทุน
bulletขายฝากมีข้อดี ข้อเสียอย่างไรบ้าง
bulletรีไฟแนนซ์บ้านทำอย่างไร...
bulletเทคนิค...รวยด้วยอสังหาริมทรัพย์
bulletคำแนะนำเกี่ยวกับการขายฝาก
bullet“ภาสวีร์ ลพอุทัย”
bulletเตรียมตัวให้พร้อมก่อนขอสิ้นเชื่อบ้าน
bulletขายฝากเปลี่ยนชีวิต
bullet3 กรรมสิทธิ์ ของผู้ซื้อบ้านลอยฟ้า
bulletปฏิเสธไม่ลง ปลงก็คงได้ไม่นาน เพราะทุกวันนี้.. ที่เรายังต้องตั้งหน้าตั้งตาทำงานกันงก ๆ ก็เพราะการแข่งขันในสังคมที่สูง
dot
ค้นหาข้อมูลเกี่ยวกับบ้านมือสอง
dot
dot
ชื่อผู้ใช้ :
รหัสผ่าน :
เข้าสู่ระบบอัตโนมัติ :
bullet ลืมรหัสผ่าน
bullet สมัครสมาชิก
dot
bulletTop Commision




สอบนายหน้า

  

 

  แนวคิดของการจัดตั้ง สถาบันคุณวุฒิวิชาชีพ (องค์การมหาชน) ได้ถูกพิจารณาขึ้นเป็นครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. 2547 ภายใต้การนำเสนอของ สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา (สอศ.) และสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สศช.) หรือที่รู้จักในนาม “สภาพัฒน์” เนื่องจากสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ได้เสนอนายกรัฐมนตรีในขณะนั้น ถึงหน่วยงานที่เป็นศูนย์กลางความร่วมมือระหว่างภาคเอกชน กับภาครัฐบาล ในการยกระดับทักษะ ความรู้ความสามารถกำลังคนของชาติให้สอดคล้องกับความต้องการของสถานประกอบการที่จะเน้นสมรรถนะในการทำงาน เพื่อปรับตัวให้เท่าทันต่อการแข่งขันเสรีที่จะเกิดขึ้น โดยมีแนวคิดที่จะสร้างกรอบและหลักเกณฑ์ในการพิจารณาเพื่อที่จะกำหนดคุณวุฒิวิชาชีพระดับต่างๆ ให้เป็นมาตรฐาน ในการบ่งชี้สมรรถนะของกำลังคนของไทย ตลอดจนส่งเสริมกลุ่มอาชีพให้มีความเข้มแข็ง สามารถสร้างมาตรฐานอาชีพขึ้นได้เอง เพื่อใช้เป็นฐานในการพัฒนากำลังคนระดับต่างๆ ให้สามารถตอบสนองได้ตรงตามความต้องการของผู้ประกอบการในฐานะเป็นอุปสงค์ของระบบ ในลักษณะเป็น Demand Driven


           นายกรัฐมนตรีในขณะนั้นได้ให้ความเห็นชอบ และ มอบหมายให้กระทรวงศึกษาธิการจัดทำโครงการจัดตั้ง “สถาบันคุณวุฒิวิชาชีพ” และ “ร่างพระราชกฤษฎีกาจัดตั้งสถาบันคุณวุฒิวิชาชีพ” เพื่อเสนอเข้าสู่การพิจารณาของคณะรัฐมนตรี แต่เนื่องจากยังมีความไม่ชัดเจนในเรื่องภารกิจและเป้าหมายการดำเนินงาน ซึ่งอาจส่งผลให้เกิดความซ้ำซ้อนกับภารกิจการดำเนินงานของกระทรวงแรงงาน จึงให้ชะลอการพิจารณาออกไปก่อน


             ต่อมาในปี พ.ศ. 2551 รัฐบาลได้ประกาศนโยบายปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สอง (พ.ศ. 2552 - 2561) อันมีวัตถุประสงค์ ในการสนับสนุนการผลิตและพัฒนากำลังคนให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างภาคการเกษตร อุตสาหกรรม การค้าและบริการ จึงได้ปรับปรุงวัตถุประสงค์ให้มีการรับรองคุณวุฒิวิชาชีพที่เป็นไปตามมาตรฐานสากล เพื่อเป็นเครื่องมือวัด ความรู้ และทักษะของบุคคล ซึ่งจำเป็นจะต้องมีการกำหนดกรอบและหลักเกณฑ์คุณวุฒิวิชาชีพระดับต่าง ๆ ขึ้นเพื่อให้เป็นมาตรฐานในการบ่งชี้สมรรถนะในการปฏิบัติงานของแรงงานไทย ส่งเสริมให้กลุ่มอาชีพมีความเข้มแข็ง สามารถกำหนดมาตรฐานอาชีพขึ้นเพื่อใช้เป็นเกณฑ์ในการพัฒนากำลังคนได้ตรงตามความต้องการ อันจะส่งผลต่อสนับสนุนการขับเคลื่อนประเทศไปสู่การเป็นเศรษฐกิจฐานความรู้ ที่มีปัจจัยสำคัญคือการพัฒนากำลังคนให้สอดคล้องกับ ความต้องการของตลาดแรงงาน ซึ่งการดำเนินการดังกล่าวได้นั้นจำเป็นต้องมีกำลังคนที่มี “สมรรถนะ” ความสามารถเพียงพอที่จะสนับสนุนการยกระดับการผลิตและการบริการที่ใช้องค์ความรู้ ตลอดจนถึงการพัฒนานวัตกรรมใหม่

                โดย “สมรรถนะ” นั้นต้องวัดได้อย่างมี “มาตรฐาน” เป็นระบบ เพื่อที่สามารถจะใช้เป็นเครื่องมือในการพัฒนากำลังคนของประเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพ อันจะเป็นการส่งเสริมและช่วยเหลือส่วนราชการหรือหน่วยงานของรัฐในการพัฒนากำลังคนให้สามารถทำงานได้ตรงตามความต้องการของตลาดแรงงานมากยิ่งขึ้นนำไปสู่การเพิ่มขีดความสามารถ ในการแข่งขันของประเทศอย่างมีประสิทธิภาพ 

                สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาจึงได้เสนอให้มีการ จัดตั้งสถาบันคุณวุฒิวิชาชีพ เพื่อทำหน้าที่พัฒนาระบบคุณวุฒิวิชาชีพให้เป็นไปตามนโยบายปฏิรูปการศึกษา ในทศวรรษที่สอง และการขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานความรู้ โดยจัดทำร่างพระราชกฤษฎีกาจัดตั้งสถาบันคุณวุฒิวิชาชีพ (องค์การมหาชน) เพื่อให้กระทรวงศึกษาธิการ นำเสนอต่อ คณะรัฐมนตรีพิจารณาให้ความเห็นชอบ ตามขั้นตอนกฎหมาย และได้มีการตราพระราชกฤษฎีกาจัดตั้งสถาบันคุณวุฒิวิชาชีพ (องค์การมหาชน) ในปี พ.ศ. 2554 ตามที่ปรากฏในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 128 ตอนที่ 21 ก หน้าที่ 5 เมื่อวันที่ 30 มีนาคม 2554 โดยมี เลขาธิการคณะกรรมการการอาชีวศึกษาทำหน้าที่รักษาการผู้อำนวยการ และเริ่มดำเนินงานเมื่อคณะรัฐมนตรีมีมติแต่งตั้งประธานและคณะกรรมการบริหารสถาบันคุณวุฒิวิชาชีพ เมื่อวันที่ 2 เมษายน 2555 และ มีผู้อำนวยการสถาบันคุณวุฒิวิชาชีพ เมื่อวันที่ 18 มิถุนายน 2555 บริหารงานจนถึง ปัจจุบัน

            หากพิจารณาพื้นฐานความมั่นคงในการพัฒนาชาติแล้ว พื้นฐานเรื่องทรัพยากรบุคคลถือเป็นปัจจัยที่มีความสำคัญต่อการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม รวมถึงศักยภาพในการแข่งขันทั้งในระดับภูมิภาคและประชาคมโลก เพื่อให้การพัฒนาชาติเป็นไปอย่างต่อเนื่องและเกิดความยั่งยืน สถาบันคุณวุฒิวิชาชีพ (องค์การมหาชน) หรือ สคช. (Thailand Professional Qualification Institute (Public Organization): TPQIจึงถูกจัดตั้งขึ้นตามพระราชกฤษฎีกาจัดตั้งสถาบันคุณวุฒิวิชาชีพ (องค์การมหาชน) พ.ศ.2554 และประกาศในราชกิจจานุเบกษา เมื่อวันที่ 30 มีนาคม 2554 มีฐานะเป็นหน่วยงานภายใต้การกำกับดูแลของนายกรัฐมนตรี ทำหน้าที่พัฒนาระบบคุณวุฒิวิชาชีพแห่งชาติ สนับสนุนกลุ่มอาชีพหรือกลุ่มวิชาชีพในการจัดทำมาตรฐานอาชีพให้ได้มาตรฐานสากล การรับรององค์การที่มีหน้าที่รับรองสมรรถนะของบุคคลตามมาตรฐานอาชีพ รวมถึงเป็นศูนย์กลางข้อมูลเกี่ยวกับระบบคุณวุฒิวิชาชีพและมาตรฐานอาชีพ สอดคล้องกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11(พ.ศ.2555-2559) ยุทธศาสตร์ที่ การพัฒนาคนสู่สังคมแห่งการเรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างยั่งยืน

             ในการพัฒนาคนสู่สังคมแห่งการเรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างยั่งยืนนั้น สถาบันคุณวุฒิวิชาชีพ (องค์การมหาชน) ได้ดำเนินการพัฒนาระบบคุณวุฒิวิชาชีพและจัดทำมาตรฐานอาชีพ ด้วยการสร้างความร่วมมือกับหน่วยงานทุกภาคส่วน ทั้งภาครัฐและเอกชนในระดับชาติและระดับนานาชาติ รวมทั้งการสนับสนุนกลุ่มผู้ประกอบการในสาขาวิชาชีพต่างๆ และผู้มีส่วนเกี่ยวข้องเพื่อการมีส่วนร่วมในการจัดทำมาตรฐานอาชีพและแนวทางการประเมินสมรรถนะบุคคลตามมาตรฐานอาชีพ อันนำมาใช้ในการประเมินสมรรถนะของบุคคลตามมาตรฐานอาชีพเพื่อให้ได้รับประกาศนียบัตรคุณวุฒิวิชาชีพและหนังสือรับรองมาตรฐานอาชีพ รับรองสมรรถนะบุคคลตามมาตรฐานอาชีพ ทั้งผู้ที่มีคุณวุฒิการศึกษาและไม่มีคุณวุฒิการศึกษา ซึ่งมีประสบการณ์การทำงานและความชำนาญในวิชาชีพให้มีความพร้อมต่อการเคลื่อนย้ายแรงงานเสรีในประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนต่อไป

 

“มาตรฐานอาชีพ” หมายความว่า การกำหนดระดับสมรรถนะของบุคคลในการประกอบอาชีพ โครงการจัดทำมาตรฐานอาชีพ พร้อมทั้งพัฒนาระบบการรับรองคุณวุฒิวิชาชีพ

สถาบันคุณวุฒิวิชาชีพ มีการดำเนินงานในการศึกษาวิจัยและพัฒนาระบบคุณวุฒิวิชาชีพ รวมทั้ง ส่งเสริม สนับสนุนกลุ่มอาชีพหรือกลุ่มวิชาชีพในการจัดทำมาตรฐานอาชีพ กล่าวคือ ต้องการที่จะให้การรับรอง ความรู้ ความเชี่ยวชาญและทักษะทางด้านวิชาชีพ โดยกำหนดระดับสมรรถนะของบุคคลให้เป็นมาตรฐาน สากล เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันประเทศ ทั้งนี้ ในการดำเนินงานของสถาบันฯ ในปีงบประมาณ ๒๕๕๖ ที่ผ่านมาได้มีโครงการจัดทำมาตรฐานอาชีพในหลายสาขาอาชีพ มีผลการดำเนินงานตามโครงการ