ReadyPlanet.com
dot dot
CallcenterRealtyOne
ต้องการขายบ้าน,ฝากขายบ้าน
เกี่ยวกับสมาคมนายหน้าอสังหาฯ
Top Listing
dot

หมวดสินค้า
ประเภททรัพย์สิน
ทำเลต่างๆ

  [Help]
dot
bulletบ้านเดี่ยว
bulletบ้านแฝด
bulletทาว์นเฮาส์
bulletอาคารพาณิชย์
bulletอพาร์ทเม้นท์-หอพัก-ห้องเช่า
bulletคอนโดมีเนี่ยม/ห้องชุด
bulletอาคารสำนักงาน
bulletโรงแรม - รัสอร์ท
bulletโรงงาน-โกดัง
bulletที่ดินเปล่า
bulletอื่น ๆ
dot
แผนที่โซน
dot
dot
Zone1
dot
bullet สีลม, สาทร, พระราม 2-3-4, เจริญกรุง, เพชรบุรี, ยานนาวา , เยาวราช, พระนคร, บางบอน, เพรชเกษม, บางแค, คลองสาน, ธนบุรี, สุขสวัสดิ์, ดาวคนอง, ประชาอุทิศ, บางคอแหลม, ดุสิต, บางรัก, ปทุมวัน, ป้อมปราบฯ, สัมพันธวงศ์, พญาไท, บางกอกใหญ่-น้อย, บางขุนเทียน, หนองแขม
dot
Zone2
dot
bulletศรีนครินทร์, อ่อนนุช,สุขุมวิทม, พัฒนาการ, สวนหลวง, ประเวศ, เฉลิมพระเกียรติ, สุวรรณภูมิ, อุดมสุข, ลาซาล, แบริ่ง, พระโขนง, บางนา, เทพารักษ์, สมุทรปราการ รัชดา , ลาดพร้าว , รามคำแหง , บางกะปิ , ห้วยขวาง , ดินแดง , บึงกุ่ม , บางซื่อ , จตุจักร , วังทองหลาง
dot
Zone3
dot
bulletบางเขน, หลักสี่, ดอนเมือง, แจ้งวัฒนะ, วิภาวดี, พหลโยธิน, รังสิต, สะพานใหม่, วัชรพล, รามอินทรา, ลำลูกกา, นวมินทร์, เสรีไทย, มีนบุรี, สุวินทวงศ์ , ปทุมธานี, ร่มเกล้า, ลาดกระบัง, ประชาชื่น, เตาปูน, หทัยราษฎร์, พระราม 9, เกษตร-นวมินทร์, หนองจอก, สายไหม, คันนา
dot
Zone4
dot
bulletบรมราชชนนี,พระราม 5-7, พุทธมณฑล, กาญจนาภิเษก, แคราย, นนทบุรี, งามวงศ์วาน, ติวานนท์, ปากเกร็ด, รัตนาธิเบศร์, บางใหญ่, บางบัวทอง, บางกรวย, ราชพฤกษ์, นครอินทร์, ปิ่นเกล้า , ตลิ่งชัน , บางพลัด
ต่างจังหวัด
ทีมนักขายมืออาชีพ
"ความรู้เกี่ยวกับที่ดิน"
แฟรนไชส์
dot

dot
bullet6 วิธีเป็นมหาเศรษฐีที่ดิน
bullet6 ข้อ ควรรู้ ก่อนซื้อบ้าน
bulletตรวจสอบสัญญาให้ดี ก่อนซื้อขายอสังหาฯ
bulletปล่อยเช่าคอนโดฯในกทม.ได้ผลตอบแทนดีจริงหรือ?
bullet9 เคล็ดลับ นายหน้าอสังหาฯ รวยทางลัดอย่างไร?
bullet3 เรื่องควรรู้ก่อนโอนกรรมสิทธิ์บ้าน
bullet รู้ก่อนลงทุนคอนโด รู้ผลตอบแทนจากการปล่อยเช่า เมื่อเปรียบเทียบกับเงินลงทุนสูงที่สุด (Yield%)
bulletกฎหมายควบคุมอาคาร เรื่องควรรู้เกี่ยวกับ “ระยะร่น”
bulletก่อนจะลงทุนอสังหาฯ ต้องพิจารณาให้ดีๆก่อนนะครับ
bulletตอบตัวเองให้ได้ก่อนลงทุนที่ดิน .. คุณมีความรู้และเข้าใจในการลงทุนอสังหาฯ โดยเฉพาะ “ที่ดิน” ดีแค่ไหน?
bullet4 รูปแบบธุรกิจปล่อยเช่า
bulletเกี่ยวกับบ้านมือสอง
bullet 12 เคล็ดวิธี “เปิดบ้านขายอย่างเหนือชั้น
bulletเรื่องน่ารู้ของคนซื้อบ้าน
bulletไขปัญหาเรื่องกู้บ้านกับ ธอส.
bulletนายหน้าไฮโซ เทรนด์ร้อน ติดชาร์ตกระแสโลก
bullet“ฟาร์มมิ่ง (Farming)” เคล็ดวิธีควานหาบ้านดีเพื่อการลงทุน
bullet8 ข้อดีของการเลือกซื้อบ้านมือสอง
bulletตรวจบ้านมือสองอย่างไร ไม่ให้มานั่งเสียใจภายหลัง
bulletบ้านใหม่ VS บ้านมือสอง
bulletบ้านแบบไหนอยู่แล้วรวย
bulletกำจัด 10 จุดอ่อนแก้ปัญหากู้ (ซื้อบ้าน) ไม่ผ่าน
bullet7 ขั้นตอน ขายบ้าน ให้ได้เร็ว
bulletผ่อนบ้านไม่ไหว ทำอย่างไรดี
bulletการเลือกซื้อ บ้านมือสอง
bulletบ้านมือสองกับรอยแตกร้าว
bulletตั้งราคาขายบ้านให้ผู้ซื้อสนใจ
bulletเตรียมความพร้อมก่อนขายบ้าน
bullet9 ประกาศขายบ้านมือสอง
bullet5 ข้อดีของบ้านมือสอง
bulletซื้อบ้านมือสองผ่านนายหน้า
bulletทำบ้านเก่าให้เป็นบ้านใหม่
bullet10 เทคนิคดูแลบ้านหน้าฝน
bulletนายหน้าทำสัญญาฝากขายเอาเปรียบจริงหรือไม่ ?
bullet6 เคล็ดลับทำบ้านให้ขายได้ราคา
bullet6 สิ่งผิดๆ ส่งผลให้บ้านพัง
bullet วิธีเลือกซื้อบ้านมือสอง
bulletอยากมีบ้าน แต่ไม่เคยกู้ เริ่มต้นที่ไหนดี
bulletการซื้อบ้านมือสอง
bulletวิธีเลือกซื้อบ้านมือสองเรื่องใกล้ตัวที่เราควรรู้
bulletไขปัญหาเรื่องกู้บ้านกับ ธอส.
bullet“บ้านมือสอง” ของดีราคาถูกที่ไม่ควรมองข้าม
bulletเคล็ด (ไม่) ลับกับการเลือกซื้อบ้านมือสองเพื่อการลงทุน
bullet"กำจัด 10 จุดอ่อน แก้ปัญหากู้ (ซื้อบ้าน) ไม่ผ่าน "
bulletภาสวีร์ ลพอุทัย ชวนสร้างโอกาสด้วยธุรกิจ อสังหาริมทรัพย์กับ เรียลตี้ วัน
bullet ตรวจบ้านมือสองอย่างไร ไม่ให้มานั่งเสียใจภายหลัง
bulletเลือกทำเลซื้อบ้าน - คอนโด ฯ อย่างไรให้รวย
bullet" จะกู้เพื่อซื้อบ้าน แล้วตัวเองต้องเตรียมเงินเก็บไว้ด้วยหรือไม่ "
bullet 4 คุณสมบัติสำคัญ ขอกู้แบงก์ไหนก็ผ่าน!
bulletคลายร้อนให้บ้าน
bullet สัญญาจะซื้อจะขายที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง
bulletสัญญาซื้อขายรถยนต์
bulletสัญญาจะซื้อจะขาย
bulletสัญญาจะซื้อจะขายที่ดิน
bulletสัญญาจะซื้อจะขายที่ดิน (เหมายกแปลง)
bulletสัญญาซื้อขายและวางเงินมัดจำแบบทั่วไป
bulletสัญญาซื้อขายทรัพย์สิน
bulletบ้านดีด้วยหน้าต่าง !!
bulletคุณ ภาสวีร์ ลพอุทัย ก่อตั้ง เรียลตี้วันเอสเตท(ประเทศไทย) จำกัด
bulletชำระเงินงวดอย่างไร เพื่อไม่ให้เกิดหนี้ค้างชำระ
bulletขายบ้านมือสองให้ได้ราคาสูง ต้องมีเทคนิค !
bulletแหล่งเลือกซื้อบ้านมือสอง
bulletข้อดีของการฝากขายบ้านกับนายหน้า
bulletภาษีขายบ้านมีอะไรบ้าง?
bullet“แก่น” ในการลงทุน “อสังหาฯ ราคาประหยัด”
bullet5 อสังหาริมทรัพย์น่าสนใจ โดดเด่น AEC
bullet การผังเมือง หมายความว่า การวาง
bulletสร้าง “ระบบ” เพื่อสร้าง “แบรนด์” ในการลงทุน “อสังหาฯ ไม่นาน”
bullet6 ขั้นตอนเก็งกำไรอสังหาฯ หนทางรวยไวแบบไม่เสี่ยง
bulletสัญญาฝากขายแบบปิด (EXCLUSIVE) ให้ประโยชน์ผู้ขายอย่างไร?
bulletข้อดีของการฝากขายบ้านกับนายหน้า
bulletพิธีกรรมไหว้บ้านมือสอง
bullet4 ขั้นตอนมืออาีพ
bulletบ้านมือสองของดีที่ไม่ค่อยมีใครรู้
bulletกู้ร่วมชีวิตคู่กับการกู้ซื้อบ้าน
bulletกูรู 3 ธนาคาร “กู้ซื้อบ้านอย่างไรให้ผ่าน”
bulletเช็คความพร้อมก่อนยื่นกู้ซื้อบ้าน
bulletขายฝากเปลี่ยนชีวิต
bulletเคล็ดไม่ลับกับที่ดินเปล่าเพื่อลงทุน
bulletขายฝากมีข้อดี ข้อเสียอย่างไรบ้าง
bulletรีไฟแนนซ์บ้านทำอย่างไร...
bulletเทคนิค...รวยด้วยอสังหาริมทรัพย์
bulletคำแนะนำเกี่ยวกับการขายฝาก
bullet“ภาสวีร์ ลพอุทัย”
bulletเตรียมตัวให้พร้อมก่อนขอสิ้นเชื่อบ้าน
bulletขายฝากเปลี่ยนชีวิต
bullet3 กรรมสิทธิ์ ของผู้ซื้อบ้านลอยฟ้า
bulletปฏิเสธไม่ลง ปลงก็คงได้ไม่นาน เพราะทุกวันนี้.. ที่เรายังต้องตั้งหน้าตั้งตาทำงานกันงก ๆ ก็เพราะการแข่งขันในสังคมที่สูง
dot
ค้นหาข้อมูลเกี่ยวกับบ้านมือสอง
dot
dot
ชื่อผู้ใช้ :
รหัสผ่าน :
เข้าสู่ระบบอัตโนมัติ :
bullet ลืมรหัสผ่าน
bullet สมัครสมาชิก
dot
bulletTop Commision




รีไฟแนนซ์บ้านทำอย่างไร...

 รีไฟแนนซ์บ้านทำอย่างไร...

     รีไฟแนนซ์บ้าน   มักนิยมใช้ในวงการอสังหาฯ   หมายถึง   การกู้ยืมสินเชื่อก้อนใหม่จากธนาคารใหม่มาโปะหนี้ธนาคารเดิมก็ได้   ส่วนใหญ่จะใช้กับการผ่อนบ้าน   คอนโดฯ   เช่น   กู้บ้าน   5   ล้าน   จะผ่อน   10   ปี   ผ่อนไปได้   3   ปีแรก   เกิดปัญหาหมุนเงินผ่อนไม่ทัน   เลยยื่นเรื่องขอรีไฟแนนซ์บ้านกับธนาคารเดิม   (หรือธนาคารใหม่ก็ได้)   เพื่อให้ช่วยขยายระยะเวลาผ่อนที่เหลืออยู่ให้ยาวนานขึ้น   จะได้ผ่อนค่างวดน้อยลง   พูดง่าย ๆ  คือ   “ทำเรื่องกู้ใหม่อีกรอบ”   เพื่อให้ค่างวดและดอกเบี้ยที่ถูกลง...

1.      รีไฟแนนซ์บ้าน  ต้องรู้นโยบายของแต่ละธนาคาร   และข้อกฎหมายด้านการเงินอย่างชัดเจน   อาทิ  (โปรโมชั่น)   ดอกเบี้ยใน   3   ปีแรกอัตราดอกเบี้ยประเภท   MLR  และ   MRR  เงื่อนไขของแต่ละธนาคารว่าให้กู้ได้เท่าไหร่ของราคาประเมิน   เป็นต้น

2.      ต้องรู้ค่าใช้จ่ายโดยรวมทั้งหมด   ยิ่งเคาะเป็นตัวเลขในอนาคตล่วงหน้าได้ละเอียดเท่าไหร่   ยิ่งมีผลประโยชน์กับเรามากเท่านั้น   ซึ่งโดยทั่วไปในเวปไซต์ของแต่ละธนาคาร   จะมีโปรแกรมคำนวณค่าใช้จ่าย   คอยบริการลูกค้าอยู่แล้ว

           ทั้งนี้ค่าใช้จ่ายในการรีไฟแนนซ์ทั้งหมดจะอยู่ที่ประมาน   2.3%   โดยเฉลี่ยและอาจสูงได้ถึง   4.3%   ของวงเงินที่รีไฟแนนซ์ในบางกรณี   เราสามารถประหยัดค่าธรรมเนียมในการจำนอง   (1%)   ได้ถ้ารีไฟแนนซ์กับที่เดิม   ค่าใช้จ่ายบางข้อเป็นค่าคงที่เท่ากันทุกธนาคาร   และบางข้อคิดเป็นมูลค่าน้อยมากเมื่อเทียบกับข้ออื่น   ไม่ควรเอามาใช้เป็นปัจจัย

3.      รีไฟแนนซ์บ้าน   ต้องรู้เอกสารสำคัญทั้งหมดที่ใช้ในการยื่นว่ามีอะไรบ้าง

-         เอกสารที่แสดงข้อมูลทั่วไปของตนเอง   เช่น   สำเนาบัตรประชาชน/สำเนาทะเบียนบ้าน   พร้อมฉบับจริง

-         ใบรับรองเงินเดือน   หรือหนังสือผ่านสิทธิสวัสดิการข้อตกลงและนำสลิปเงินเดือนหรือหลักฐานการรับรองเงินเดือนปัจจุบัน  3   เดือน   ย้อนหลังมาแสดง   โดยเอกสารในข้อนี้ทุกอย่าง   ขอฉบับจริงทั้งสิ้น

-         หากรีไฟแนนซ์บ้านแบบไถ่ถอน   ให้นำใบเสร็จการผ่อนชำระย้อนหลัง   24   เดือนมาด้วย

-         สำเนาบัญชีเงินฝากแสดงรายการย้อนหลัง   6   เดือน   และหลักฐานแสดงฐานนะการเงินอื่น ๆ  พร้อมฉบับจริง   หรือ   Statement   พร้อมเซนต์รับรอง

-         กรณีประกอบอาชีพส่วนตัว   นำสำเนาใบประกอบวิชาชีพ   หรือใบอนุญาตประกอบมาด้วย

-         กรณีประกอบธุรกิจ   นำสำเนาทะเบียนการค้า   หรือทะเบียนบริษัท   หรือทะเบียนห้างหุ้นส่วนฯ   พร้อมยื่นหลักฐานการเสียภาษีเงินได้   แนบใบเสร็จตัวจริงจากกรมสรรพากร   ย้อนหลัง   6   เดือนมาด้วย   (อย่าลืมรูปถ่ายกิจการ   จำนวน   3.4  รูป)

-         สำเนาโฉนดที่ดิน/น.ส.3ก/หนังสือกรรมสิทธิ์ห้องชุด/อช.2   (2  ชุด)   พร้อมรับรองจาก   สนง.ที่ดิน

4.      การรีไฟแนนซ์บ้าน   ต้องรู้ขั้นตอนโดยภาพรวมทั้งหมดว่าจะต้องทำอะไรบ้าง

     เริ่มต้นติดต่อขอเอกสารสรุปยอดหนี้เงินกู้กับธนาคารเก่า   (อาจจะมีค่าใช้จ่าย   แล้วแต่นโยบายของแต่ละธนาคาร)   นำเอกสารสรุปยอดหนี้ที่ได้มา   ไปยื่นเพื่อทำเรื่องกู้กับธนาคารแห่งใหม่ที่เราคิดพิจารณามาดีแล้วแต่ธนาคารแห่งนี้เหมาะสมที่จะรีไฟแนนซ์บ้าน   ซึ่งขอแนะนำว่าการยื่นหลายๆ   แห่งพร้อมกัน   เนื่องจากแต่ละธนาคารจะใช้เวลาดำเนินการไม่เท่ากัน   เราต้องเพิ่มตัวเลือกไว้เป็นช่องทางของเราทางธนาคารจะส่งเจ้าหน้าที่มาประเมินทรัพย์สินของเรา   ในขั้นตอนนี้จะคล้ายกันกับตอนที่ยื่นกู้ครั้งแรก  ถ้าทำเรื่องผ่านการอนุมัติ   ให้ติดต่อไปยังธนาคารเก่าที่เป็นเจ้าหนี้เดิมของเรา   สำหรับการนัดวันไถ่ถอนที่สำนักงานที่ดิน  ธนาคารเดิมจะสรุปยอดหนี้ให้อีก   1   ครั้ง   พร้อมทั้งบอกชื่อผู้รับมอบอำนาจของแต่ละธนาคารซึ่งจะไปทำนิติกรรมที่สำนักงานที่ดิน   เราต้องแจ้งยอดหนี้   เป็นเงินต้นกับดอกเบี้ยจนถึงวันไถ่ถอนแก่ธนาคารแห่งใหม่ที่เราไปกู้

        จากนั้นติดต่อไปยังธนาคารใหม่   นัดวันทำสัญญา+โอนทรัพย์   ที่ใช้จำนองโดยต้องเป็นวันเดียวกับที่นัดกับธนาคารเดิมไว้   และทำเรื่องโอนที่สำนักงานที่ดินในเขตที่ของเราตั้งอยู่   ชำระเงินและค่าใช้จ่ายต่าง ๆ  ให้เรียบร้อย   บางธนาคารอาจนำสัญญาไปให้เราเซ็นที่สำนักงานที่ดิน หรือที่สาขา   ถ้ามียอดกู้สูงกว่าค่าไถ่ถอน   ธนาคารใหม่จะออกเช็คให้เรา  2   ใบ   จ่ายให้กับธนาคารเก่า  และให้เราชำระค่าต่าง  ๆ  เรียบร้อยแล้ว   แล้วก็มอบโฉนดที่ได้มาจากสำนักงานที่ดินให้กับธนาคารใหม่ที่เราเพิ่งเป็นเจ้าหนี้   ก็เป็นการเสร็จสิ้นการโอน

ที่มาจาก  อาคารและที่ดิน

 

 

http://www.homed4u.com/index.php?lay=show&ac=article&Id=539363006