ReadyPlanet.com
dot dot
CallcenterRealtyOne
ต้องการขายบ้าน,ฝากขายบ้าน
เกี่ยวกับสมาคมนายหน้าอสังหาฯ
Top Listing
dot

หมวดสินค้า
ประเภททรัพย์สิน
ทำเลต่างๆ

  [Help]
dot
bulletบ้านเดี่ยว
bulletบ้านแฝด
bulletทาว์นเฮาส์
bulletอาคารพาณิชย์
bulletอพาร์ทเม้นท์-หอพัก-ห้องเช่า
bulletคอนโดมีเนี่ยม/ห้องชุด
bulletอาคารสำนักงาน
bulletโรงแรม - รัสอร์ท
bulletโรงงาน-โกดัง
bulletที่ดินเปล่า
bulletอื่น ๆ
dot
แผนที่โซน
dot
dot
Zone1
dot
bullet สีลม, สาทร, พระราม 2-3-4, เจริญกรุง, เพชรบุรี, ยานนาวา , เยาวราช, พระนคร, บางบอน, เพรชเกษม, บางแค, คลองสาน, ธนบุรี, สุขสวัสดิ์, ดาวคนอง, ประชาอุทิศ, บางคอแหลม, ดุสิต, บางรัก, ปทุมวัน, ป้อมปราบฯ, สัมพันธวงศ์, พญาไท, บางกอกใหญ่-น้อย, บางขุนเทียน, หนองแขม
dot
Zone2
dot
bulletศรีนครินทร์, อ่อนนุช,สุขุมวิทม, พัฒนาการ, สวนหลวง, ประเวศ, เฉลิมพระเกียรติ, สุวรรณภูมิ, อุดมสุข, ลาซาล, แบริ่ง, พระโขนง, บางนา, เทพารักษ์, สมุทรปราการ รัชดา , ลาดพร้าว , รามคำแหง , บางกะปิ , ห้วยขวาง , ดินแดง , บึงกุ่ม , บางซื่อ , จตุจักร , วังทองหลาง
dot
Zone3
dot
bulletบางเขน, หลักสี่, ดอนเมือง, แจ้งวัฒนะ, วิภาวดี, พหลโยธิน, รังสิต, สะพานใหม่, วัชรพล, รามอินทรา, ลำลูกกา, นวมินทร์, เสรีไทย, มีนบุรี, สุวินทวงศ์ , ปทุมธานี, ร่มเกล้า, ลาดกระบัง, ประชาชื่น, เตาปูน, หทัยราษฎร์, พระราม 9, เกษตร-นวมินทร์, หนองจอก, สายไหม, คันนา
dot
Zone4
dot
bulletบรมราชชนนี,พระราม 5-7, พุทธมณฑล, กาญจนาภิเษก, แคราย, นนทบุรี, งามวงศ์วาน, ติวานนท์, ปากเกร็ด, รัตนาธิเบศร์, บางใหญ่, บางบัวทอง, บางกรวย, ราชพฤกษ์, นครอินทร์, ปิ่นเกล้า , ตลิ่งชัน , บางพลัด
ต่างจังหวัด
ทีมนักขายมืออาชีพ
"ความรู้เกี่ยวกับที่ดิน"
แฟรนไชส์
dot

dot
bullet6 วิธีเป็นมหาเศรษฐีที่ดิน
bullet6 ข้อ ควรรู้ ก่อนซื้อบ้าน
bulletตรวจสอบสัญญาให้ดี ก่อนซื้อขายอสังหาฯ
bulletปล่อยเช่าคอนโดฯในกทม.ได้ผลตอบแทนดีจริงหรือ?
bullet9 เคล็ดลับ นายหน้าอสังหาฯ รวยทางลัดอย่างไร?
bullet3 เรื่องควรรู้ก่อนโอนกรรมสิทธิ์บ้าน
bullet รู้ก่อนลงทุนคอนโด รู้ผลตอบแทนจากการปล่อยเช่า เมื่อเปรียบเทียบกับเงินลงทุนสูงที่สุด (Yield%)
bulletกฎหมายควบคุมอาคาร เรื่องควรรู้เกี่ยวกับ “ระยะร่น”
bulletก่อนจะลงทุนอสังหาฯ ต้องพิจารณาให้ดีๆก่อนนะครับ
bulletตอบตัวเองให้ได้ก่อนลงทุนที่ดิน .. คุณมีความรู้และเข้าใจในการลงทุนอสังหาฯ โดยเฉพาะ “ที่ดิน” ดีแค่ไหน?
bullet4 รูปแบบธุรกิจปล่อยเช่า
bulletเกี่ยวกับบ้านมือสอง
bullet 12 เคล็ดวิธี “เปิดบ้านขายอย่างเหนือชั้น
bulletเรื่องน่ารู้ของคนซื้อบ้าน
bulletไขปัญหาเรื่องกู้บ้านกับ ธอส.
bulletนายหน้าไฮโซ เทรนด์ร้อน ติดชาร์ตกระแสโลก
bullet“ฟาร์มมิ่ง (Farming)” เคล็ดวิธีควานหาบ้านดีเพื่อการลงทุน
bullet8 ข้อดีของการเลือกซื้อบ้านมือสอง
bulletตรวจบ้านมือสองอย่างไร ไม่ให้มานั่งเสียใจภายหลัง
bulletบ้านใหม่ VS บ้านมือสอง
bulletบ้านแบบไหนอยู่แล้วรวย
bulletกำจัด 10 จุดอ่อนแก้ปัญหากู้ (ซื้อบ้าน) ไม่ผ่าน
bullet7 ขั้นตอน ขายบ้าน ให้ได้เร็ว
bulletผ่อนบ้านไม่ไหว ทำอย่างไรดี
bulletการเลือกซื้อ บ้านมือสอง
bulletบ้านมือสองกับรอยแตกร้าว
bulletตั้งราคาขายบ้านให้ผู้ซื้อสนใจ
bulletเตรียมความพร้อมก่อนขายบ้าน
bullet9 ประกาศขายบ้านมือสอง
bullet5 ข้อดีของบ้านมือสอง
bulletซื้อบ้านมือสองผ่านนายหน้า
bulletทำบ้านเก่าให้เป็นบ้านใหม่
bullet10 เทคนิคดูแลบ้านหน้าฝน
bulletนายหน้าทำสัญญาฝากขายเอาเปรียบจริงหรือไม่ ?
bullet6 เคล็ดลับทำบ้านให้ขายได้ราคา
bullet6 สิ่งผิดๆ ส่งผลให้บ้านพัง
bullet วิธีเลือกซื้อบ้านมือสอง
bulletอยากมีบ้าน แต่ไม่เคยกู้ เริ่มต้นที่ไหนดี
bulletการซื้อบ้านมือสอง
bulletวิธีเลือกซื้อบ้านมือสองเรื่องใกล้ตัวที่เราควรรู้
bulletไขปัญหาเรื่องกู้บ้านกับ ธอส.
bullet“บ้านมือสอง” ของดีราคาถูกที่ไม่ควรมองข้าม
bulletเคล็ด (ไม่) ลับกับการเลือกซื้อบ้านมือสองเพื่อการลงทุน
bullet"กำจัด 10 จุดอ่อน แก้ปัญหากู้ (ซื้อบ้าน) ไม่ผ่าน "
bulletภาสวีร์ ลพอุทัย ชวนสร้างโอกาสด้วยธุรกิจ อสังหาริมทรัพย์กับ เรียลตี้ วัน
bullet ตรวจบ้านมือสองอย่างไร ไม่ให้มานั่งเสียใจภายหลัง
bulletเลือกทำเลซื้อบ้าน - คอนโด ฯ อย่างไรให้รวย
bullet" จะกู้เพื่อซื้อบ้าน แล้วตัวเองต้องเตรียมเงินเก็บไว้ด้วยหรือไม่ "
bullet 4 คุณสมบัติสำคัญ ขอกู้แบงก์ไหนก็ผ่าน!
bulletคลายร้อนให้บ้าน
bullet สัญญาจะซื้อจะขายที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง
bulletสัญญาซื้อขายรถยนต์
bulletสัญญาจะซื้อจะขาย
bulletสัญญาจะซื้อจะขายที่ดิน
bulletสัญญาจะซื้อจะขายที่ดิน (เหมายกแปลง)
bulletสัญญาซื้อขายและวางเงินมัดจำแบบทั่วไป
bulletสัญญาซื้อขายทรัพย์สิน
bulletบ้านดีด้วยหน้าต่าง !!
bulletคุณ ภาสวีร์ ลพอุทัย ก่อตั้ง เรียลตี้วันเอสเตท(ประเทศไทย) จำกัด
bulletชำระเงินงวดอย่างไร เพื่อไม่ให้เกิดหนี้ค้างชำระ
bulletขายบ้านมือสองให้ได้ราคาสูง ต้องมีเทคนิค !
bulletแหล่งเลือกซื้อบ้านมือสอง
bulletข้อดีของการฝากขายบ้านกับนายหน้า
bulletภาษีขายบ้านมีอะไรบ้าง?
bullet“แก่น” ในการลงทุน “อสังหาฯ ราคาประหยัด”
bullet5 อสังหาริมทรัพย์น่าสนใจ โดดเด่น AEC
bullet การผังเมือง หมายความว่า การวาง
bulletสร้าง “ระบบ” เพื่อสร้าง “แบรนด์” ในการลงทุน “อสังหาฯ ไม่นาน”
bullet6 ขั้นตอนเก็งกำไรอสังหาฯ หนทางรวยไวแบบไม่เสี่ยง
bulletสัญญาฝากขายแบบปิด (EXCLUSIVE) ให้ประโยชน์ผู้ขายอย่างไร?
bulletข้อดีของการฝากขายบ้านกับนายหน้า
bulletพิธีกรรมไหว้บ้านมือสอง
bullet4 ขั้นตอนมืออาีพ
bulletบ้านมือสองของดีที่ไม่ค่อยมีใครรู้
bulletกู้ร่วมชีวิตคู่กับการกู้ซื้อบ้าน
bulletกูรู 3 ธนาคาร “กู้ซื้อบ้านอย่างไรให้ผ่าน”
bulletเช็คความพร้อมก่อนยื่นกู้ซื้อบ้าน
bulletขายฝากเปลี่ยนชีวิต
bulletเคล็ดไม่ลับกับที่ดินเปล่าเพื่อลงทุน
bulletขายฝากมีข้อดี ข้อเสียอย่างไรบ้าง
bulletรีไฟแนนซ์บ้านทำอย่างไร...
bulletเทคนิค...รวยด้วยอสังหาริมทรัพย์
bulletคำแนะนำเกี่ยวกับการขายฝาก
bullet“ภาสวีร์ ลพอุทัย”
bulletเตรียมตัวให้พร้อมก่อนขอสิ้นเชื่อบ้าน
bulletขายฝากเปลี่ยนชีวิต
bullet3 กรรมสิทธิ์ ของผู้ซื้อบ้านลอยฟ้า
bulletปฏิเสธไม่ลง ปลงก็คงได้ไม่นาน เพราะทุกวันนี้.. ที่เรายังต้องตั้งหน้าตั้งตาทำงานกันงก ๆ ก็เพราะการแข่งขันในสังคมที่สูง
dot
ค้นหาข้อมูลเกี่ยวกับบ้านมือสอง
dot
dot
ชื่อผู้ใช้ :
รหัสผ่าน :
เข้าสู่ระบบอัตโนมัติ :
bullet ลืมรหัสผ่าน
bullet สมัครสมาชิก
dot
bulletTop Commision




ภาษีขายบ้านมีอะไรบ้าง?

ภาษีขายบ้านมีอะไรบ้าง?

 เมื่อคิดจะขายบ้านมีหลายสิ่งหลายอย่างที่ควรรู้ แต่สิ่งหนึ่งที่จำเป็นต้องรู้ (ไม่รู้ไม่ได้) คือ ค่าใช้จ่ายในการโอนกรรมสิทธิ์ ณ สำนักงานที่ดินในเขตพื้นที่ของบ้านที่ขาย ค่าใช้จ่ายในการโอนกรรมสิทธิ์นี้ก่อนที่จะตั้งราคาขายบ้านต้องตรวจสอบค่าใช้จ่ายในการโอนกรรมสิทธิ์ก่อนทุกครั้ง เพื่อจะได้ประมาณได้ว่าการขายบ้านหลังนี้ต้องเสียค่าใช้จ่ายในการโอนกรรมสิทธิ์เท่าไหร่ ซึ่งจะเป็นผลให้สามารถตั้งราคาขาย และราคาต่อรองได้อย่างเหมาะสมโดยไม่เจ็บตัว รายละเอียดค่าใช้จ่ายในการขายบ้านโอนกรรมสิทธิ์ ณ สำนักงานที่ดินจะมีดังนี้

 

1. ค่าธรรมเนียม 2% (คิดจากราคาประเมินกรมที่ดิน หรือราคาที่ซื้อขาย อย่างใดอย่างหนึ่งที่สูงกว่า) เช่น ราคาประเมินทุนทรัพย์ของกรมที่ดิน 500,000บาท แต่ราคาซื้อขาย 800,000บาท ค่าธรรมเนียม 2% ในการโอนกรรมสิทธิ์นี้จะคิดจากราคาซื้อขาย คือ 800,000บาท แต่หากถ้าราคาประเมินทุนทรัพย์ของกรมที่ดินอยู่ที่ 800,000บาท และราคาซื้อขาย 500,000บาท ค่าธรรมเนียมนี้จะถูกคิดจากราคาประเมิน คือ 800,000บาท

 

 

2. ค่าภาษีเงินได้ หัก ณ ที่จ่าย (คิดจากราคาประเมินกรมที่ดิน) โดยจะมีวิธีคำนวณค่อนข้างซับซ้อน สามารถศึกษาได้ที่ www.rd.go.th

 

3. ค่าภาษีธุรกิจเฉพาะ 3.3% (คิดจากราคาประเมินกรมที่ดิน หรือราคาซื้อขาย อย่างใดอย่างหนึ่งที่ราคาสูงกว่า) โดยการเสียค่าภาษีธุรกิจเฉพาะนี้จะคิดจากเจ้าของบ้านที่เป็นผู้ถือกรรมสิทธิ์ครอบครองบ้านไม่ถึงระยะเวลา 5ปี นับตั้งแต่วันที่รับโอนกรรมสิทธิ์มา จะต้องเสียค่าภาษีธุรกิจเฉพาะ 3.3% แต่หากเจ้าของบ้านผู้ถือกรรมสิทธิ์ได้ครอบครองบ้านเกิน 5ปี หรือมีชื่ออยู่ในทะเบียนหลังที่จะขายไม่ต่ำกว่า 1ปี จะได้รับการยกเว้นค่าภาษีธุรกิจเฉพาะ ในกรณีการขายบ้านที่เป็นสินสมรส คือ มีการจดทะเบียนสมรสก่อนที่จะทำการซื้อบ้านหลังนี้มา ถือว่าเป็นสินสมรส คู่สมรสทั้งสองฝ่าย หรือฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งต้องมีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้านที่ใช้เป็นสถานที่อยู่อาศัยเป็นเวลาไม่น้อยกว่า 1 ปี จึงจะไม่ต้องเสียค่าภาษีธุรกิจเฉพาะ

 

 

4. ค่าอากรณ์แสตมป์ 0.5% (คิดจากราคาประเมินกรมที่ดิน หรือราคาซื้อขาย อย่างใดอย่างหนึ่งที่ราคาสูงกว่า) ในการขายบ้านจะต้องเสียค่าอากรณ์แสตมป์ 0.5% แต่จะได้รับการยกเว้นเมื่อเสียค่าภาษีธุรกิจเฉพาะแล้ว เพราะกรมสรรพากรจะเรียกเก็บค่าอากรณ์แสตมป์ หรือค่าภาษีธุรกิจเฉพาะอย่างใดอย่างหนึ่งเท่านั้น ถ้าเสียค่าภาษีธุรกิจเฉพาะ 3.3%แล้ว ก็ไม่ต้องเสียค่าอากรแสตมป์อีก โดยกฎหมายกำหนดกรณียกเว้นการไม่ต้องเสียภาษีธุรกิจเฉพาะไว้ดังนี้ ที่ดินที่ถือครองมาเกินเวลา 5 ปี มีชื่อเป็นเจ้าบ้านเกินเวลา 1 ปี นับแต่วันที่รับโอนกรรมสิทธิ์มาไม่ต้องเสียภาษีธุรกิจเฉพาะ ถูกเวนคืนบ้านหรือที่ดิน อันนี้จะได้ค่าตอบแทนจากรัฐแต่ไม่ต้องเสียภาษี บ้านที่ขายเป็นบ้านที่ได้มาโดยการรับมรดก สามารถดูข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ rdsrv2.rd.go.th

 

 

 

5. ค่าจดจำนองของสถาบันการเงิน 1% (คิดจากมูลค่าที่จำนอง หรือวงเงินกู้ของผู้ซื้อ) โดยค่าจดจำนองนี้จะเป็นภาระชำระของผู้ซื้อเท่านั้น เพราะเมื่อผู้ซื้อต้องการซื้อบ้าน และได้ขอกู้เงินจากสถาบันการเงินจะต้องชำระค่าจดจำนองนี้เอง (ในกรณีที่ผู้ซื้อ ซื้อบ้านเป็นเงินสดจะไม่ต้องเสียค่าจดจำนอง 1% ของวงเงินกู้)

 

 

 

 

6. ค่าใช้จ่ายจิปาถะเล็กๆ น้อยๆ อย่างเช่น ค่าคำขอ ขอแสตมป์ ค่าพยาน ค่าถ่ายเอกสาร ปกติแล้วค่าใช้จ่ายในการโอนกรรมสิทธิ์ เช่น ค่าภาษีธุรกิจเฉพาะ หรือค่าอากรณ์แสตมป์ และค่าภาษีเงินได้ฝ่ายผู้ขายจะเป็นฝ่ายชำระ ส่วนค่าจดจำนองของสถาบันการเงินผู้ซื้อจะเป็นฝ่ายชำระ แต่ในความเป็นจริงเรื่องค่าใช้จ่ายในการโอนกรรมสิทธิ์ทั้งหมดมิได้มีกฎเกณฑ์บังคับ ขึ้นอยู่กับการตกลงทั้งสองฝ่ายคือผู้ซื้อ และผู้ขายที่จะตกลงกันว่าอย่างไรเพื่อให้ได้ความพึงพอใจกันทั้งสองฝ่าย หมายเหตุ : ผู้เขียนขอย้ำอีกครั้งว่าก่อนที่จะทำการขายบ้านโอนกรรมสิทธิ์ควรไปตรวจสอบค่าใช้จ่ายในการโอนกรรมสิทธิ์ ณ สำนักงานที่ดินก่อนให้

เรียบร้อย ขอบคุณข้อมูล จาก พีระภัทร เอื้อจิตรเมต บริษัทเรียลตี้วัน เอสเตท ประเทศไทย จำกัด

 

http://www.homed4u.com/index.php?lay=show&ac=article&Id=539363006

https://www.facebook.com/profile.php?id=100009945105162