ReadyPlanet.com
dot dot
CallcenterRealtyOne
ต้องการขายบ้าน,ฝากขายบ้าน
เกี่ยวกับสมาคมนายหน้าอสังหาฯ
Top Listing
dot

หมวดสินค้า
ประเภททรัพย์สิน
ทำเลต่างๆ

  [Help]
dot
bulletบ้านเดี่ยว
bulletบ้านแฝด
bulletทาว์นเฮาส์
bulletอาคารพาณิชย์
bulletอพาร์ทเม้นท์-หอพัก-ห้องเช่า
bulletคอนโดมีเนี่ยม/ห้องชุด
bulletอาคารสำนักงาน
bulletโรงแรม - รัสอร์ท
bulletโรงงาน-โกดัง
bulletที่ดินเปล่า
bulletอื่น ๆ
dot
แผนที่โซน
dot
dot
Zone1
dot
bullet สีลม, สาทร, พระราม 2-3-4, เจริญกรุง, เพชรบุรี, ยานนาวา , เยาวราช, พระนคร, บางบอน, เพรชเกษม, บางแค, คลองสาน, ธนบุรี, สุขสวัสดิ์, ดาวคนอง, ประชาอุทิศ, บางคอแหลม, ดุสิต, บางรัก, ปทุมวัน, ป้อมปราบฯ, สัมพันธวงศ์, พญาไท, บางกอกใหญ่-น้อย, บางขุนเทียน, หนองแขม
dot
Zone2
dot
bulletศรีนครินทร์, อ่อนนุช,สุขุมวิทม, พัฒนาการ, สวนหลวง, ประเวศ, เฉลิมพระเกียรติ, สุวรรณภูมิ, อุดมสุข, ลาซาล, แบริ่ง, พระโขนง, บางนา, เทพารักษ์, สมุทรปราการ รัชดา , ลาดพร้าว , รามคำแหง , บางกะปิ , ห้วยขวาง , ดินแดง , บึงกุ่ม , บางซื่อ , จตุจักร , วังทองหลาง
dot
Zone3
dot
bulletบางเขน, หลักสี่, ดอนเมือง, แจ้งวัฒนะ, วิภาวดี, พหลโยธิน, รังสิต, สะพานใหม่, วัชรพล, รามอินทรา, ลำลูกกา, นวมินทร์, เสรีไทย, มีนบุรี, สุวินทวงศ์ , ปทุมธานี, ร่มเกล้า, ลาดกระบัง, ประชาชื่น, เตาปูน, หทัยราษฎร์, พระราม 9, เกษตร-นวมินทร์, หนองจอก, สายไหม, คันนา
dot
Zone4
dot
bulletบรมราชชนนี,พระราม 5-7, พุทธมณฑล, กาญจนาภิเษก, แคราย, นนทบุรี, งามวงศ์วาน, ติวานนท์, ปากเกร็ด, รัตนาธิเบศร์, บางใหญ่, บางบัวทอง, บางกรวย, ราชพฤกษ์, นครอินทร์, ปิ่นเกล้า , ตลิ่งชัน , บางพลัด
ต่างจังหวัด
ทีมนักขายมืออาชีพ
"ความรู้เกี่ยวกับที่ดิน"
แฟรนไชส์
dot

dot
bullet6 วิธีเป็นมหาเศรษฐีที่ดิน
bullet6 ข้อ ควรรู้ ก่อนซื้อบ้าน
bulletตรวจสอบสัญญาให้ดี ก่อนซื้อขายอสังหาฯ
bulletปล่อยเช่าคอนโดฯในกทม.ได้ผลตอบแทนดีจริงหรือ?
bullet9 เคล็ดลับ นายหน้าอสังหาฯ รวยทางลัดอย่างไร?
bullet3 เรื่องควรรู้ก่อนโอนกรรมสิทธิ์บ้าน
bullet รู้ก่อนลงทุนคอนโด รู้ผลตอบแทนจากการปล่อยเช่า เมื่อเปรียบเทียบกับเงินลงทุนสูงที่สุด (Yield%)
bulletกฎหมายควบคุมอาคาร เรื่องควรรู้เกี่ยวกับ “ระยะร่น”
bulletก่อนจะลงทุนอสังหาฯ ต้องพิจารณาให้ดีๆก่อนนะครับ
bulletตอบตัวเองให้ได้ก่อนลงทุนที่ดิน .. คุณมีความรู้และเข้าใจในการลงทุนอสังหาฯ โดยเฉพาะ “ที่ดิน” ดีแค่ไหน?
bullet4 รูปแบบธุรกิจปล่อยเช่า
bulletเกี่ยวกับบ้านมือสอง
bullet 12 เคล็ดวิธี “เปิดบ้านขายอย่างเหนือชั้น
bulletเรื่องน่ารู้ของคนซื้อบ้าน
bulletไขปัญหาเรื่องกู้บ้านกับ ธอส.
bulletนายหน้าไฮโซ เทรนด์ร้อน ติดชาร์ตกระแสโลก
bullet“ฟาร์มมิ่ง (Farming)” เคล็ดวิธีควานหาบ้านดีเพื่อการลงทุน
bullet8 ข้อดีของการเลือกซื้อบ้านมือสอง
bulletตรวจบ้านมือสองอย่างไร ไม่ให้มานั่งเสียใจภายหลัง
bulletบ้านใหม่ VS บ้านมือสอง
bulletบ้านแบบไหนอยู่แล้วรวย
bulletกำจัด 10 จุดอ่อนแก้ปัญหากู้ (ซื้อบ้าน) ไม่ผ่าน
bullet7 ขั้นตอน ขายบ้าน ให้ได้เร็ว
bulletผ่อนบ้านไม่ไหว ทำอย่างไรดี
bulletการเลือกซื้อ บ้านมือสอง
bulletบ้านมือสองกับรอยแตกร้าว
bulletตั้งราคาขายบ้านให้ผู้ซื้อสนใจ
bulletเตรียมความพร้อมก่อนขายบ้าน
bullet9 ประกาศขายบ้านมือสอง
bullet5 ข้อดีของบ้านมือสอง
bulletซื้อบ้านมือสองผ่านนายหน้า
bulletทำบ้านเก่าให้เป็นบ้านใหม่
bullet10 เทคนิคดูแลบ้านหน้าฝน
bulletนายหน้าทำสัญญาฝากขายเอาเปรียบจริงหรือไม่ ?
bullet6 เคล็ดลับทำบ้านให้ขายได้ราคา
bullet6 สิ่งผิดๆ ส่งผลให้บ้านพัง
bullet วิธีเลือกซื้อบ้านมือสอง
bulletอยากมีบ้าน แต่ไม่เคยกู้ เริ่มต้นที่ไหนดี
bulletการซื้อบ้านมือสอง
bulletวิธีเลือกซื้อบ้านมือสองเรื่องใกล้ตัวที่เราควรรู้
bulletไขปัญหาเรื่องกู้บ้านกับ ธอส.
bullet“บ้านมือสอง” ของดีราคาถูกที่ไม่ควรมองข้าม
bulletเคล็ด (ไม่) ลับกับการเลือกซื้อบ้านมือสองเพื่อการลงทุน
bullet"กำจัด 10 จุดอ่อน แก้ปัญหากู้ (ซื้อบ้าน) ไม่ผ่าน "
bulletภาสวีร์ ลพอุทัย ชวนสร้างโอกาสด้วยธุรกิจ อสังหาริมทรัพย์กับ เรียลตี้ วัน
bullet ตรวจบ้านมือสองอย่างไร ไม่ให้มานั่งเสียใจภายหลัง
bulletเลือกทำเลซื้อบ้าน - คอนโด ฯ อย่างไรให้รวย
bullet" จะกู้เพื่อซื้อบ้าน แล้วตัวเองต้องเตรียมเงินเก็บไว้ด้วยหรือไม่ "
bullet 4 คุณสมบัติสำคัญ ขอกู้แบงก์ไหนก็ผ่าน!
bulletคลายร้อนให้บ้าน
bullet สัญญาจะซื้อจะขายที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง
bulletสัญญาซื้อขายรถยนต์
bulletสัญญาจะซื้อจะขาย
bulletสัญญาจะซื้อจะขายที่ดิน
bulletสัญญาจะซื้อจะขายที่ดิน (เหมายกแปลง)
bulletสัญญาซื้อขายและวางเงินมัดจำแบบทั่วไป
bulletสัญญาซื้อขายทรัพย์สิน
bulletบ้านดีด้วยหน้าต่าง !!
bulletคุณ ภาสวีร์ ลพอุทัย ก่อตั้ง เรียลตี้วันเอสเตท(ประเทศไทย) จำกัด
bulletชำระเงินงวดอย่างไร เพื่อไม่ให้เกิดหนี้ค้างชำระ
bulletขายบ้านมือสองให้ได้ราคาสูง ต้องมีเทคนิค !
bulletแหล่งเลือกซื้อบ้านมือสอง
bulletข้อดีของการฝากขายบ้านกับนายหน้า
bulletภาษีขายบ้านมีอะไรบ้าง?
bullet“แก่น” ในการลงทุน “อสังหาฯ ราคาประหยัด”
bullet5 อสังหาริมทรัพย์น่าสนใจ โดดเด่น AEC
bullet การผังเมือง หมายความว่า การวาง
bulletสร้าง “ระบบ” เพื่อสร้าง “แบรนด์” ในการลงทุน “อสังหาฯ ไม่นาน”
bullet6 ขั้นตอนเก็งกำไรอสังหาฯ หนทางรวยไวแบบไม่เสี่ยง
bulletสัญญาฝากขายแบบปิด (EXCLUSIVE) ให้ประโยชน์ผู้ขายอย่างไร?
bulletข้อดีของการฝากขายบ้านกับนายหน้า
bulletพิธีกรรมไหว้บ้านมือสอง
bullet4 ขั้นตอนมืออาีพ
bulletบ้านมือสองของดีที่ไม่ค่อยมีใครรู้
bulletกู้ร่วมชีวิตคู่กับการกู้ซื้อบ้าน
bulletกูรู 3 ธนาคาร “กู้ซื้อบ้านอย่างไรให้ผ่าน”
bulletเช็คความพร้อมก่อนยื่นกู้ซื้อบ้าน
bulletขายฝากเปลี่ยนชีวิต
bulletเคล็ดไม่ลับกับที่ดินเปล่าเพื่อลงทุน
bulletขายฝากมีข้อดี ข้อเสียอย่างไรบ้าง
bulletรีไฟแนนซ์บ้านทำอย่างไร...
bulletเทคนิค...รวยด้วยอสังหาริมทรัพย์
bulletคำแนะนำเกี่ยวกับการขายฝาก
bullet“ภาสวีร์ ลพอุทัย”
bulletเตรียมตัวให้พร้อมก่อนขอสิ้นเชื่อบ้าน
bulletขายฝากเปลี่ยนชีวิต
bullet3 กรรมสิทธิ์ ของผู้ซื้อบ้านลอยฟ้า
bulletปฏิเสธไม่ลง ปลงก็คงได้ไม่นาน เพราะทุกวันนี้.. ที่เรายังต้องตั้งหน้าตั้งตาทำงานกันงก ๆ ก็เพราะการแข่งขันในสังคมที่สูง
dot
ค้นหาข้อมูลเกี่ยวกับบ้านมือสอง
dot
dot
ชื่อผู้ใช้ :
รหัสผ่าน :
เข้าสู่ระบบอัตโนมัติ :
bullet ลืมรหัสผ่าน
bullet สมัครสมาชิก
dot
bulletTop Commision




บ้านใหม่ VS บ้านมือสอง

บ้านใหม่กับบ้านมือสอง 

บ้านใหม่  VS  บ้านมือสอง
            การลงทุนในบ้านและที่ดิน    นอกจากจะต้องตัดสินใจเลือกประเภทบ้านที่ใช้ในการลงทุนแล้ว ยังต้องตัดสินใจอีกว่า จะเลือกลงทุนในบ้านใหมหรือ บ้านมือสอง  ซึ่งทางเหลือในแต่ละลักษณะมีจุดเด่นและจุดด้อยในการลงทุนแตกต่างกัน  ดังนั้นจึงต้องเลือกให้สอดคล้องกับแผนการลงุทนของแต่ละบุคคล ดี
            การซื้อ บ้านมือสอง จัดเป็นทางเลือกที่น่าสนใจทางหนึ่งในการลงทุน  ซึ่งการซื้อ บ้านมือสอง  อาจมีเหตุผลดังนี้
            -   บ้านมือสอง ไม่ต้องการปลูกสร้างเอง  เพราะต้องการที่อยู่อาศัยเร่งด่วน  ไม่มีเวลาที่จะรอการปลูกสร้างได้  เกรงจะประสบปัญหาต่างๆ  ในขบวนการปลูกสร้างและปลูกบ้านใหม่อาจจะมีราคาแพงกว่าการซื้อ บ้านมือสอง
            -  ไม่ต้องการซื้อบ้านจัดสรร  เนื่องจากกำลังการซื้อไม่เพียงพอ  หรือไม่ชอบระบบการซื้อแบบผ่อนส่ง
            -  อาจจะชอบทำเลที่ตั้งของ บ้านมือสอง ที่จะซื้อ
            -  ชอบลักษณะรูปแบบของ บ้านมือสอง  ในกรณีนี้ บ้านมือสอง นั้นอาจจะเป็นเรือนไทยที่ถูกต้องตามลักษณะโบราณจริง ๆ  ซึ่งอาจเป็นเรือนไทย  หลังคาสูง  จั่วแหลมหรือเรือนไทยลักษณะรัชกาลที่ 5  หรือรัชกาลที่ 6  ซึ่งก็เป็นรูปแบบเฉพาะ  เช่น หลังคาปั้นหยา  ช่องลมฉลุ  เป็นต้น  สำหรับผู้ที่จะซื้อ บ้านมือสอง ในลักษณะที่กล่าวนี้  มักเป็นผู้อนุรักษ์นิยมชื่นชมของเก่าที่หายาก
            อย่างไรก็ดี  การที่จะพิจารณาเปรียบเทียบระหว่างบ้านใหม่และ บ้านมือสอง  ไม่อาจตอบได้ชัดว่าอย่างใดจะดีกว่ากัน  เพราะแต่ละกรณี  มีข้อได้เปรียบและข้อเสียเปรียบที่แตกต่างกัน  สำหรับปัจจัยที่ผู้ซื้อน่าจะนำมาใช้พิจารณาเปรียบเทียบคุณลักษณะเด่นระหว่างบ้านใหม่และ บ้านมือสอง มีดังต่อไปนี้ ว่าควรซื้อแบบไหนดีนั้น
 
คุณลักษณะเด่นของการซื้อบ้านใหม่

            1.บ้านใหม่จะเพียบพร้อมไปด้วยสิ่งใหม่ทั้งหมด  ซึ่งอยู่ในสภาพดี  ไม่ต้องเสียค่าซ่อมแซมอีกเป็นระยะเวลานาน  ดังนั้นบ้านใหม่จึงมักสร้างความภาคภูมิใจให้แก่ผู้อยู่อาศัยได้มากกว่า
            2.  บ้านใหม่มักจะมีการออกแบบและใช้วัสดุก่อสร้าง  ตลอดจนอุปกรณ์ต่าง ๆ  ที่ทันสมัยกว่า  ซึ่งทำให้มีโอกาสใช้ประโยชน์ได้คุ้มค่า  และระยะเวลาการเสื่อมสภาพที่ยาวนานกว่า
            3.  บ้านใหม่จะให้โอกาสแก่ผู้เริ่มเข้าอยู่อาศัยเป็นครั้งแรก  ในการที่จะจัดการตกแต่งบ้านได้ง่าย  และทำให้สะดวกกว่า
คุณลักษณะเด่นของการซื้อ บ้านมือสอง
            1.  บ้านมือสอง มักจะมีการก่อสร้างที่ประณีต  แข็งแรงทนทานดีกว่าบ้านใหม่ไม่ว่าจะเป็นโครงสร้างที่ทำด้วยไม้หรือปูนก็ตาม
            2.  บ้านมือสอง มักจะมีทำเลที่ตั้งดีกว่าบ้านใหม่ ๆ  เนื่องจาก บ้านมือสอง  มีการก่อสร้างมาตั้งแต่ที่ดินราคาไม่แพงมากนัก  สภาพแวดล้อมของ บ้านมือสอง จึงมีสิ่งอำนวยความสะดวกที่พร้อมมูลกว่า
            3. บ้านมือสอง มักจะมีอุปปกรณ์บางอย่างที่ติดอยู่กับตัวบ้านให้แล้ว  ซึ่งเจ้าของเดิมได้ทำไว้  จึงไม่ต้องไปจัดหาใหม่  และถ้ามีการคิดราคาสิ่งของเหล่านั้นก็จะได้ราคาถูกกว่าราคาตลาดมาก
            4.  บ้านในโครงการสร้างใหม่  มักจะมีสาธารณะประโภคสาธารณูปการยังไม่พร้อมสมบูรณ์  บางครั้งต้องรอให้มีการก่อสร้างต่อในเฟสสอง  เฟสสาม  ทำสภาพแวดล้อมในชุมชนไม่ดีนัก  ตรงข้ามกับ บ้านมือสอง ชุมชนจัดสรรที่สร้างเสร็จเรียบร้อนมานานพอสมควรแล้วเช่น  3-4  ปี  ชุมชนเหล่านี้จะค่อนข้างมีสภาพแวดล้อมที่ดีและสมบูรณ์
            5.  สามารถรู้ได้อย่างชัดเจนว่าสภาพแวดล้อมทางสังคม  เพื่อนบ้านเรือนเคียงและผู้อยู่อาศัยในชุมชนว่าเขาเป็นใคร  เป็นคนกลุ่มไหน  สำหรับการซื้อบ้านใหม่ในโครงการจัดสรรผู้ซื้อมักจะไม่ทราบว่าใครเป็นผู้ซื้อบ้านที่ติดกับตน   แต่ บ้านมือสอง  ผู้ซื้อสามารถสอบถามทำความรู้จักกับผู้อยู่อาศัยใกล้เคียงได้    เพื่อหยั่งรู้ถึงอาชีพการงาน  รสนิยม  อัธยาศัยไมตรี  ว่าเป็นประการใด  สามารถจะพึ่งพาอาศัย  เกื้อกูลกันได้หรือไม่  หรือเมื่ออยู่ใกล้กันแล้วจะมีโอกาสเกิดปัญหากระทบกระทั่งกันได้หรือไม่  ในบางครั้งผู้ซื้อพบว่ามีผู้ขาย บ้านมือสอง  ที่อยู่ใกล้กับญาติพี่น้อง  หรือเพื่อนสนิทมิตรสหายที่อยู่อาศัยมาก่อน  ก็จะเป็นเงื่อนไขบวกประการหนึ่งในการตัดสินใจซื้อบ้านมือสอง 
 
ข้อแนะนำในการซื้อ บ้านมือสอง
            ข้อสำคัญในการพิจารณาเลือกซื้อ บ้านมือสอง  นอกจากจะเปรียบเทียบคุณลักษณะเด่นดังกล่าวมาแล้ว  ก็ควรจะพิจารณาตรวจสอบรายละเอียดด้านอื่น  ๆ  อีก  ได้แก่
            1.  ดูสภาพของ บ้านมือสอง อายุบ้าน  ดูว่าปลูกมานานกี่ปีแล้ว  อุปกรณ์เครื่องใช้ต่าง  ๆ  เช่น  เครื่องสุขภัณฑ์  หลอดไฟตามดวงโคมต่าง  ๆ  ชำรุดเสียหายบ้างหรือเปล่า  สายไฟฟ้าเสื่อมสภาพแล้วหรือยัง  น้ำปะปาขึ้นสนิมหรือแตกรั่วบ้างหรือไม่  หากลักษณะโครงสร้างเก่าแก่ไม่แข็งแรงและจะต้องซ่อมแซมอีกมากแล้ว  จะทำเกิดปัญหาหนักในเรื่องค่าใช้จ่าย  ด้วยเหตุนี้ลักษณะสภาพ บ้านมือสอง จึงเป็นสิ่งสำคัญที่สุดที่จะต้องให้ความสำคัญในการพิจารณาตัดสินใจซื้อตามปกติแล้ว บ้านมือสอง จะมีการเสื่อมราคาตามระยะเวลายิ่งถ้าสภาพแวดล้อมเป็นทำเลที่มีแหล่าชุมชนแออัดเกิดขึ้น  ราคาของ  บ้านมือสอง จะตกลงอย่างรวดเร็ว  ฉะนั้นหากจะลงทุนเลือกซื้อ บ้านมือสอง  ควรหาแหล่งที่คิดว่าจะยังคงเจริญต่อไปในภายหน้า
            2.  ควรพิจารณาสภาพแวดล้อม บ้านมือสอง นั้น  ๆ  ว่าอยู่ในสภาพแวดล้อมอย่างไร  มีสิ่งอำนวยความสะดวกต่อชีวิตประจำวันหรือไม่  เช่น  ใกล้โรงเรียน  ศูนย์การค้า  ตลาด  โรงพยาบาล  ฯลฯ  เพื่อการใช้ชีวิตที่สะดวกสบายในอนาคต
            3.  กรณีที่จะซื้อบ้านที่ดินพร้อมบ้านจัดสรร  ทาวน์เฮาส์  หรืออาคารพาณิชย์  ควรตรวจสอบเพิ่มเติมด้วยว่า  ผู้ประกอบธุรกิจหรือเจ้าของโครงการ  ได้รับใบอนุญาตให้ก่อสร้างอาคารแล้วหรือไม่  โดยตรวจสอบได้จากกรมโยธาการ  หรือสำนักงานเขตกรุงเทพมหานคร  หรือสำนักงานที่ดินจังหวัด  แล้วแต่กรณี 
            4.  พิจารณาชุมชน  โดยพิจารณาเพื่อนบ้านที่อยู่บริเวณไกล้เคียงว่าเป็นอย่างไร  กรณีที่บ้านอยู่ในโครงการจัดสรร  ควรสอบถามเรื่องบริการชุมชนจากเพื่อนบ้าน  ว่างานสาธารณูปโภคตลอดจนค่าใช้จ่ายส่วนกลางเป็นอย่างไร  การดูแลรักษาสภาพโครงการสม่ำเสมอ  และเหมาะสมหรือไม่
            5.  ราคาของ บ้านมือสอง ที่เสนอขาย  รวมและไม่รวมอะไรบ้าง  เช่นค่าธรรมเนียมโอนบ้าน  ค่าภาษีรายได้จากการขายอสังหาริมทรัพย์  (ปกติจะเป็นค่าใช้จ่ายของผู้ขาย)  ภาษีธุรกิจเฉพาะ  และค่าอากรแสตมป์
            6.  กรณีที่คุณต้องการกู้ซื้อ บ้านมือสอง ต้องเตรียมเรื่องขออนุมัติขอสินเชื่อเพื่อซื้อบ้านด้วย
            7.  ตรวจซ้ำกับการเวนคืน  แม้ว่าจะอุ่นใจได้ว่ากว่าจะกว่าจะสร้างจนบ้านเสร็จให้เห็นมีการตรวจสอบดังกล่าวแล้ว  แต่ไม่ควรประมาท  โดยเฉพาะอย่างยิ่งบ้านที่อยู่ในทำเลล่อแหลม  เช่น  ใกล้สามแยก  เป็นต้น  บ่อยครั้งที่เจ้าของบ้านเดิมระแคะระคายเรื่องเกี่ยวกับการเวนคืน  เลยพยายามย่องถ่ายทรัพย์สินของตนเอง  ก่อนที่จะมีกฎหมายห้ามการขายและโอนกรรมสิทธิ์ที่ดิน
            8.  ตรวจสอบว่า  ผู้ที่จะขาย บ้านมือสอง นั้นมีกรรมสิทธิ์ในที่อยู่อาศัยนั้นจริงหรือไม่  หมายถึงการมีชื่อเป็นเจ้าของ  หากเป็นการมอบหมายอำนาจต้องดูให้ละเอียด  เช่น  กรณีการซื้อจากบริษัทนายหน้าขาย บ้านมือสอง
            9.  ตรวจข้อมูลเกี่ยวกับการจำนองหรือการเป็นหลักทรัพย์ค้ำประกันเงินกู้จากธนาคารหรือสถาบันการเงินอื่น ๆ  โดยทั่วไปแล้วการซื้อ บ้านมือสอง ที่ติดจำนองจะต้องผ่านกระบวนการไถ่ถอนการจำนองมาก่อน  และค่อยโอนกรรมสิทธิ์กัน  ขั้นตอนเหล่านี้จำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องมีการคุยรายละเอียดกันตั้งแต่เริ่มแรก  โดยทั่วไปสถาบันการเงินจะมีเจ้าหน้าที่ดำเนินการทางด้านนี้  การดูแลเรื่องนี้ตั้งแต่ขั้นตอนการตกลงซื้อขายจะช่วยให้ไม่ต้องเผชิญปัญหาข้อกฎหมายเกี่ยวกับการโอนสิทธิและอื่น ๆ
            10.  สำหรับอาคารชุดจำเป็นต้องขอดูเอกสารการจดทะเบียนอาคารชุดนิติบุคคลอาคารชุดและค่าธรรมเนียมต่าง ๆ  ตลอดจนรายการทรัพย์สินส่วนกลางและการบริการต่าง ๆ  รวมทั้งค่าใช้จ่ายส่วนกลางอย่างละเอียด  เพราะจะได้เป็นการเตรียมตัวแต่เนิ่น ๆ  ในการที่จะต้องเข้ามาเป็นส่วนร่วมในการบริหารอาคารชุดในอนาคต
            11.  การตรวจสอบสัญญาจะซื้อขายยังมีความจำเป็นแม้ว่าสัญญามาตฐานจะมีการใช้กันมากขึ้นแล้วก็ตาม  นอกจากนี้  ในเรื่องของค่าใช้จ่ายในการจดทะเบียนโอนกรรมสิทธิ์  ภาษี  และอื่น ๆ  จะต้องมีการตกลงไว้ล่วงหน้าเป็นลายลักษณ์อักษร  และควรจะเก็บสัญญาจะซื้อจะขายเอาไว้ด้วย  แม้ว่าจะมีการโอนกรรมสิทธิ์กันแล้วก็ตามที  เพื่อป้องกันปัญหาภายหลัง
            12.  ตรวจสอบและเก็บเอกสารต่าง ๆ  ที่เป็นส่วนประกอบของสัญญาเอาไว้  ไม่ว่าจะซื้อจากบริษัทเจ้าของโครงการโดยตรงหรือซื้อต่อจากบุคคลอื่นก็ตาม  ทั้งนี้เพราะเอกสารเหล่านี้มีผลทางกฎหมายในการบังคับให้เจ้าของจะต้องปฏิบัติตามข้อตกลงหรืสัญญาที่เคยระบุไว้
อนุชา กุลวิสุทธิ์ : ลงทุนในอสังหาริมทรัพย์ แบบมืออาชีพ